คู่มือ JET AERATORS

 คู่มือการใช้งาน

เครื่องเติมอากาศแบบตีใต้น้ำ (Air Jet )

**คำแนะนำ กรุณาอ่านคู่มือ ก่อนประกอบติดตั้งเครื่อง**

 

การทำงานของเครื่อง

                Jet Aerator เป็นเครื่องเติมอากาศชนิดใช้มอเตอร์ขับเคลื่อนเพลากลวง (Hollow Shaft) ที่มีใบพัดติดอยู่ปลายเพลา ด้วยความเร็วประมาณ 3000 รอบต่อนาที จะเกิดความดันที่แตกต่างกันที่บริเวณหัวจ่าย (Diffuser) ทำให้อากาศเหนือผิวน้ำจะถูกดูดลงไปตามรูเพลากลวง ผ่านหัวจ่าย (Diffuser) กระทบกับน้ำที่ถูกผลักด้วยความเร็วของใบพัดแตกกระจายเป็นฟอง ละเอียดเล็กๆ พุ่งลงไปในน้ำ ทำให้ฟองอากาศนี้แขวนลอยอยู่ในน้ำได้นาน ซึ่งเครื่องเติมอากาศแต่ละเครื่องมีความสามารถในการเติมออกซิเจนในสภาวะมาตรฐานได้ไม่น้อยกว่า 1.1 กก./ซม./แรงม้า

                เครื่องเติมอากาศตัวเครื่องจะยึดติดกับทุ่นที่ลอยอยู่บนผิวน้ำ เครื่องนี้จะติดตั้งทำมุมกับผิวน้ำ และมุมนี้สามารถปรับเปลี่ยนได้ 30-60 องศา เพื่อให้เหมาะสมกับความตื้นลึกของน้ำ

 

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

รูปแบบแสดงการทำงาน

 

                เครื่องเติมอากาศตัวเครื่องจะยึดติดกับทุ่นที่ลอยอยู่บนผิวน้ำ เครื่องนี้จะติดตั้งทำมุมกับผิวน้ำ และมุมนี้สามารถปรับเปลี่ยนได้ 20-23 องศา เพื่อให้เหมาะสมกับความตื้นของน้ำ ดังนี้

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

 

 

การติดตั้ง

การติดตั้งการใช้งานสามารถทำได้ 2 วิธี คือ

                1. ติดตั้งตายตัวในกรณีที่ระดับน้ำที่จะทำการเตรียมออกซิเจนมีระดับคงที่ตายตัวไม่มีการเปลี่ยนแปลง ขึ้นอยู่กับสถานที่ที่จะติดตั้งโดยยึดด้านหน้า ( รูปที่1) หรือติดตั้งแบบยึดด้านข้าง (รูปที่2) และทำการปรับมุมก้มเงยตามความต้องการ

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ     Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

รูปที่1 ติดตั้งด้านหลังของเครื่อง                           รูปที่2 ติดตั้งด้านข้างของเครื่อง

 

                2. ติดตั้งบนทุ่นลอยในกรณีที่ระดับน้ำมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทุ่นนี้จะลอยตัวอยู่บนผิวน้ำและจะปรับตัวเองไปตามการขึ้นลงของระดับน้ำ ทำให้รักษาระดับการพ่นของออกซิเจนลงไปในน้ำเป็นไปอย่างคงที่ เครื่องจะติดตั้งอยู่บนทุ่นลอยที่ทำจาก Polyethylene มีความเหนียวแข็งแรง หล่อเป็นชิ้นเดียวกันตลอด ภายในทุ่นบรรจุด้วยโฟม (Polyethylene) เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและป้องกันการจมของทุ่น ทุ่นนี้จะลอยตัวอยู่บนผิวน้ำและยึดด้วยเสาที่ท้ายทุ่น (รูปที่3) หรือยึดด้วยสลิงให้อยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ (รูปที่4) จากนั้นให้ปรับมุมก้มเงยตามความต้องการ

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ      Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

 รูปที่3                                                                                         รูปที่4        

 

                3. การต่อไฟฟ้าเข้าเครื่อง

มอเตอร์ที่ใช้เป็นแบบ 3 สาย ใช้ได้ทั้งไฟ 220V และไฟ 380V โดยต่อไฟดังนี้

วิธีที่ 1. สำหรับไฟ 220V 3สาย ให้ต่อแบบ Delta (รูปที่5)

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ
รูปที่
5

วิธีที่ 2. สำหรับไฟ 380V 3สาย ให้ต่อแบบ Y (รูปที่6)

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

รูปที่6

 

                การต่อไฟฟ้าเข้ากับมอเตอร์ ต้องผ่านตู้ควบคุมไฟฟ้า ที่มีระบบ Overload Protection เพื่อป้องกันมอเตอร์เกิดการเสียหายจากการใช้กระแสไฟฟ้าเกิน หรือลัดวงจร

                ให้ต่อสายเข้ามอเตอร์โดยมอเตอร์ต้องหมุนถูกต้องตามทิศทางการหมุนของใบพัด การตรวจสอบทิศทางการหมุนนี้ต้องกระทำโดยใบพัดต้องจมอยู่ใต้น้ำ เพราะบูชที่ปลายเพลาต้องการน้ำเป็นตัวหล่อลื่น (รูปที่7)

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

รูปที่7

 

ห้าม ทดลองหรือเดินเครื่องโดยใบพัดพ้นน้ำเป็นอันขาด บูชที่ปลายเพลาจะเสียหายทันที (รูปที่8)

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

รูปที่8

 

ต้อง แน่ใจว่า รูสำหรับให้น้ำเข้าไปหล่อลื่นที่บูชใบพัด ต้องจมอยู่ใต้น้ำ (รูปที่9)

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

รูปที่9

 

การใช้งานและการดูแลรักษา

                ตามที่ได้กล่าวมาแล้วว่าการเคลื่อนไหวของชิ้นส่วนก็มีเพียงเพลากับใบพัด ทำให้ง่ายต่อการดูแลรักษาและซ่อมบำรุงโดยทั่วไปแล้วจะใช้เวลาน้อยมากในการดูแล แต่อย่างไรก็ดี ควรปฎิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้

                ขั้นแรก ให้สังเกตการณ์ทำงานของเครื่องว่าเดินเรียบ ไม่มีการสั่นสะเทือนที่ตัวเครื่อง ถ้าเป็นเครื่องที่ติดตั้งตายตัวให้สังเกต โดยใช้มือสัมผัสกับขายึดเครื่อง และถ้าเป็นเครื่องที่ติดอยู่บนทุ่นลอยตัวให้สังเกตดูได้จากน้ำที่อยู่รอบข้างทุ่นว่ากระเพื่อมมากน้อยเพียงใด

                ถ้าเครื่องเดินไม่เรียบ มีการสั่นมาก อาจจะมีเศษขยะไปติดพันใบพัดหรือเพลา ให้ทำการแก้ไขถ้าไม่หายให้ตรวจสอบดูว่ายอยห์คดหรือไม่ ซึ่งปกติจะไม่มีปัญหานี้เกิดขึ้นเพราะเป็นยอยห์สปริง แต่อาจจะเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ไม่เข้าใจในการถอดประกอบ โดยการโยกเพลาไปมามากเกินมุมกำหนดที่ยอยห์จะรับได้ ทำให้เพลาและยอยห์ ไม่ต่อเป็นแนวตรงเดียวกัน ทำให้มีอาการสั่นเมื่อเดินเครื่อง ในกรณีเช่นนี้อาจจะต้องเปลี่ยนเพลาทั้งเส้น

                7วันหลังจากติดตั้ง

                เมื่อติดตั้งเครื่องใหม่ๆ และใช้งานไปประมาณ 7 วัน ให้ตรวจขันน๊อตสกรูต่างๆ ว่าขันเข้าที่ทุกตัว หลังจากนั้นแล้วให้ตรวจสอบทุกๆ 6 เดือน

                ทุกๆ 6 เดือน

                ให้หยุดเครื่องและตรวจสอบสภาพการใช้งานทั่วไป

                1. ใช้มือหมุนใบพัดดูว่าหมุนไปได้คล่อง ไม่มีการติดขัดของลูกปืนมอเตอร์

                2. ใช้มือโยกใบพัดดูว่าเพลาไม่คลอนกับตัวบูชมากนัก ปกติตัวช่องว่างระหว่างเพลากับปลอกบูช จะอยู่ระหว่าง 0.5-1.5 มม.(รูปที่10) การใช้งานปกติโดยทั่วไป บูชนี้จะเสียหายต้องใช้เวลาเป็นปี แต่ในกรณีที่น้ำมีทรายปนมากๆ หรือมีวัตถุอื่นเจือปนที่มีลักษณะแข็งเหมือนผงขัด ก็จะทำให้บูชสึกหรอเร็วกว่าปกติ

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

รูปที่10

                3. ถ้ามีช่องว่างระหว่างปลอกเพลากับบูชมากเกินไป จะทำให้เครื่องเดินไม่เรียบ เพลาแกว่งและทำให้ลูกปืนมอเตอร์เสียเร็วกว่าปกติ และกินไฟฟ้า ให้ทำการเปลี่ยนปลอกเพลากับบูชใหม่ (ดูวิธีการถอดประกอบ)

                4. ตรวจสอบขันสกรูทุกตัวให้เข้าที่

                ทุกๆ 1 ปี

                ให้หยุดเครื่อง และถอดชิ้นส่วนต่างๆ ออกเพื่อตรวจสอบสภาพการใช้งาน เปลี่ยนชิ้นส่วนที่จำเป็นตรวจสอบลูกปืนมอเตอร์ เปลี่ยนหรืออัดจารบีตามความเหมาะสม (ดูวิธีการถอดประกอบ)

 

ปัญหาและการแก้ไข

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

 

การถอดประกอบ

                เมื่อปลดสายไฟฟ้า และเครื่องออกจากฐานติดตั้งแล้ว ให้ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้ การทำผิดขั้นตอนอาจจะก่อให้เกิดการเสียหายต่อชิ้นส่วนได้

การถอดตัวเครื่อง

1. เช็คเครื่องให้แห้งแล้วตั้งลงบนพื้นโดยให้ตัวมอเตอร์อยู่ด้านล่างและปลายใบพัดชี้ขึ้นด้านบน

2. คลายการ์ดใบพัดให้หลวม และรูดการ์ดลงมาด้านล่าง ให้ใบพัดไม่มีสิ่งกีดขวาง เพื่อสะดวกในการถอด (ดูรูปที่11)

3. ใช้ไขควงสอดเข้าที่รูอากาศที่เสื้อเครื่อง และร้อยทะลุผ่านช่องว่างกลมๆ ที่ยอยห์ออกไปอีกข้างหนึ่งเพื่อขวางไว้ไม่ให้เพลาหมุน (ใช้มือช่วยหมุ่นใบพัดขณะดูช่องว่างที่ยอยห์ ดูรูปที่11)

4. คลายน๊อตล็อคปลายใบพัดออก โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา

5. คลายใบพัดออกโดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา

6. ดึงการ์ดออกจากเสื้อเพลา

7. คลายน๊อตที่ยึดเสื้อกับมอเตอร์ออก

8. ดึงเสื้อออกจากมอเตอร์

9. ถอดปลอกรองปลายเพลาออก

10. คลายสกรูตัวหนอนที่ยอยห์ออก

11. ใช้เครื่องมือถอดยอยห์ดันยอยห์ออกมาจากเพลามอเตอร์ และถอดลิ่มออก (ดูรูปที่12)

Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ        Jet Aerator ,Air Jet, เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ ,เครื่องเติมอากาศใต้ผิวน้ำ ,เครื่องเติมอากาศ ,กังหันตีน้ำ ,กังหันน้ำ ,กังหัน ,กังหันตีน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ,กังหันตีน้ำโซล่าเซลล์ ,เครื่องตีน้ำ ,อะไหล่กังหันตีน้ำ, บำบัดน้ำเสีย, ติดตั้งกังหันตีน้ำ

           รูปที่11                                                                     รูปที่12                      

 


 

 

Visitors: 102,583